บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ช่วยแก้ไขปัญหา การก่อสร้าง ได้อย่างไร

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ช่วยแก้ไขปัญหา การก่อสร้าง ได้อย่างไร วันนี้ Mr.Micropile จะพูดถึง เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) … Read More

ปัญหาการเลือกวิธีในการตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงแบบแปลนของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น หรือ F2 … Read More

ต่อเติมอาคาร เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้หรือไม่??

ต่อเติมอาคาร เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้หรือไม่?? “เสาเข็ม” ถือเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะจะส่งผลถึงความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารในระยะยาว ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติมเสริมฐานรากอาคารบ้านเรือน เพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้างได้ และเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ถือเป็นเสาเข็มรูปแบบใหม่ ที่มีคุณภาพสูง มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง โดยใช้แรงเหวี่ยง(สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูง และแข็งแกร่งกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา โดยเสาเข็มทุกต้นผ่านการทดสอบด้วยระบบ … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More

1 124 125 126 127 128 129 130 202