บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การคำนวณหาค่าหน่วยแรงดัดในคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้แอดมินต้องขออภัยที่มาพบกับเพื่อนๆ ช้าไปหน่อยนะครับ เพราะแอดมินเพิ่งประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์มา ยังไงต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ วันนี้แอดมินจะมายก ตย การนำคุณสมบัติต่างๆ ที่ได้พูดถึงไปเมื่อสองวันก่อนหน้านี้ไปใช้ในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงดัดในคานรับแรงดัดกันนะครับ ก่อนอื่นเรามาดูที่ค่าคุณสมบัติต่างๆ ของหน้าตัดกันก่อนนะครับ จะเห็นได้ว่าหลายๆ ครั้งเมื่อเราสั่งผลิตภัณฑ์จำพวกนี้มาใช้งานจะพบว่าผู้ผลิตจะทำการคำนวณคุณสมบัติเหล่านี้มาให้อยู่แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานนั่นเองครับ ต่อมาเรามาคำนวณหาค่าแรงดัดมากที่สุด ซึ่งก็คือ แรงดัดที่กึ่งกลางคาน … Read More

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน และ เมื่อดูจากผลการทดสอบดินจะพบว่าชั้นดินที่ปลายเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชนิดกัน เราควรที่จะเชื่อถือ ผลจากการตอกเสาเข็ม หรือ ผลการทดสอบตัวเสาเข็ม และ เราจะมีวิธีในการคิดและตัดสินใจใช้ความยาวของเสาเข็มนี้อย่างไร ? ผมต้องขอขยายความตรงนี้นิดหนึ่งก่อนนะครับ หากเราปล่อยให้ปลายของเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชั้นกัน และ ทำการควบคุมกระบวนการๆ ตอกเสาเข็มให้ได้จำนวน BLOW COUNT ที่ได้รับการออกแบบไว้แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีการคำนึงถึงผลจากการ ทดสอบชั้นดิน … Read More

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)  บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร งานนี้ถือเป็นงานที่ยากและท้าทายอีกงานหนึ่งครับ เนื่องจากทางโรงงานหยุดให้เข้าไปงานได้แค่ช่วงกลางคืนและตอนเช้าก็ต้องย้ายปั้นจั่นและอุปกรณ์ออกจากหน้างานทั้งหมด สภาพหน้างานก็มีแต่สิ่งกีดขวางทำให้ยากในการเคลื่อนย้ายปั้นจั่นเพื่อตอกเสาเข็มในแต่ละจุด

ฐานราก (Footing) แบ่งออกได้เป็นกี่ชนิด แต่ละชนิดมีอะไรบ้าง

ฐานราก (Footing) ทำหน้าที่รับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมดแล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่เสาเข็มหรือดินโดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานรากควรมีความสามารถรองรับน้ำหนักบรรทุกได้โดยไม่เกิดการเคลื่อนตัวหรือพังทลายของดินใต้ฐานรากและต้องไม่เกิดการทรุดตัวลงมากจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิด คือ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) หรือแบบไม่มีเสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากซึ่งลึกจากระดับผิวดินน้อยกว่า หรือเท่ากับด้านที่สั้นที่สุดของฐานราก โดยฐานรากวางอยู่บนชั้นดินโดยตรง และไม่มีการตอกเสาเข็มเพื่อรองรับฐานราก เหมาะกับสภาพพื้นดินท่ีมีความสามารถแบกรับน้ำหนักบรรทุกได้สูง และกับสภาพพื้นดินท่ีตอกเสาเข็มไม่ลงหรืออย่างยากลำบาก เช่น … Read More

1 142 143 144 145 146 147 148 202