บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เครื่องวัดหน่วยความเครียด STRAIN GAUGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับอุปกรณ์ๆ หนึ่งที่จะทำหน้าที่สำคัญมากๆ เมื่อมีการทดลองทางด้านวิศวกรรม เจ้าอุปกรณ์นี้มีชื่อว่า STRAIN GAUGE นั่นเองนะครับ   … Read More

“ไก่กับไข่” อะไรเกิดก่อนกัน?

ดูเฉลยด้านล่างนะครับ Mr. SpunMan มีปัญหาง่ายๆ มาฝากแฟนเพจได้ขบคิดกันครับ เมื่อตอบแล้ว ค่อยเปิดดูเฉลยทีหลังนะครับ http://www.bhumisiam.com/puzzle55 Mr.SpunMan Bhumisiam ภูมิสยาม ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile 1) ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 2) … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด -ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน … Read More

Blow Count เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการประเมิน การรับน้ำหนักของเสาเข็ม

Blow Count เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการประเมิน การรับน้ำหนักของเสาเข็ม การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม … Read More

1 150 151 152 153 154 155 156 202