บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก)

เมื่อเทคอนกรีตเสร็จแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้เองแต่ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน แต่ถ้าต้องการให้คอนกรีตมีคุณภาพท่ีดี มีความแข็งแรงทนทานและใช้งานได้นานต้องทำการบ่มคอนกรีตเสียก่อน ซึ่งเมื่อผสมคอนกรีตต้องใช้น้ำในการผสม จะทำให้เกิดปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ เรียกว่าปฏิกิริยาไฮเดรชันทำให้คอนกรีตแข็งตัวและรับกำลังได้ ปกติแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้ภายใน 5 – 6 ชั่วโมง ภายหลังจากการผสมน้ำ และมีกำลังเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเพิ่มกำลังของคอนกรีตไม่สามารถแยกได้ด้วยการดูจากตาเปล่า คือเราไม่สามารถบอกได้ว่าคอนกรีตที่เทพื้น กับคอนกรีตที่เทคาน ส่วนใดให้กำลังสูงกว่า การจะบอกว่าคอนกรีตส่วนไหนให้กำลังสูงกว่าต้องนำไปทดสอบโดยการกดให้แตก แล้ววัดว่าคอนกรีตดังกล่าวรับกำลังได้มากน้อยเพียงใด แม้ว่าคอนกรีตต้องการน้ำในส่วนผสมเพื่อทำปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ให้มากและสมบูรณ์ท่ีสุด … Read More

สปันไมโครไพล์ (Spun MicroPile) มาตรฐาน มอก. ใช้ปูนชนิดไหนทำ เสาเข็มครับ?

มีคำถามเข้ามามากมายเลยนะครับว่า สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ใช้ปูนชนิดไหน วันนี้ Mr.Spunman จะมาตอบข้อสงสัยนี้กันครับ เพื่อให้ได้เสาเข็มที่มีคุณภาพสูง แข็งแกร่ง เราใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ (Portland Cement) ประเภท 3 ซึ่งเป็น ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทให้ “กำลังอัดสูงเร็ว” (High Early … Read More

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) และไอไมโครไพล์ (เสาเข็มไอ)(I Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) และไอไมโครไพล์ (I Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม

วิศวกรรมแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อเนื่องจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นั้นจะแตกต่างไปจากการวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจาก นน บรรทุกประเภทอื่นๆ เช่น นน บรรทุกคงที่ นน บรรทุกจร นน บรรทุกแรงลม เป็นต้น สาเหตุเป็นเพราะว่าแรงกระทำที่เกิดจากแผ่นดินไหวนั้นจะทำให้อาคารเกิดการเคลื่อนที่ในรูปแบบวัฎจักร … Read More

1 2 3 4 202