บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

SPUN MICRO PILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสาเข็มต่อเติมโรงงาน หรือ สร้างอาคารใหม่

SPUN MICRO PILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสาเข็มต่อเติมโรงงาน หรือ สร้างอาคารใหม่ เสาเข็มเราเป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน … Read More

ความรู้เรื่องการหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีแบบละเอียด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 2 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ โดยที่ในหน้านี้หลักๆ แล้วก็จะว่าด้วยเรื่องของการคำนวณหาคุณสมบัติและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับงานออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก … Read More

จุดประสงค์ ที่ช่างทำการก่ออิฐมักจะทำ ก้อน หรือ ปุ่ม คอนกรีตเล็กๆ ไว้อยู่ทั่วไปบนผนังก่ออิฐ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จากรูปหากว่าเพื่อนๆ กำลังเดินตรวจสอบการทำงานการก่อและฉาบงานผนังอิฐอยู่ที่หน้างาน เพื่อนๆ … Read More

ช่องระบายอากาศปิดช่องว่างระหว่างโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพูดนอกเรื่องเกี่ยวกับวิศวกรรมฐานรากงานดินและเสาเข็มออกไปสักหน่อยเพราะสืบเนื่องจากเมื่อวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมานั้น ผมได้ทำการโพสต์เพื่อที่จะทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ แฟนเพจว่า เราควรที่จะเลือกวิธีในการทำงานการปิดช่องว่างระหว่างโครงสร้างที่ทำหน้าที่ในการพื้นชั้นล่างกับดินเดิมให้เป็นไปในรูปแบบใดดี ถึงจะเป็นการประหยัด มีความคงทน ไม่ต้องพบเจอกับความยุ่งยากในขั้นตอนของการดูแลรักษาและจะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดในการใช้งาน ซึ่งคำตอบที่ผมได้ตอบเอาไว้ก็คือ ตัวเลือกในข้อ C … Read More

1 9 10 11 12 13 14 15 202