บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ หากว่าเพื่อนๆ ที่เป็น วิศวกรโครงสร้าง หรือ วิศวกรเทคนิคธรณี จะต้องทำการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) หรือ … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีขนาดเท่าไหร่ สามารถขนบนกระบะเล็กได้ไหม ครับ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีขนาดเท่าไหร่ สามารถขนบนกระบะเล็กได้ไหม ครับ Mr.Micropile มีคำตอบจากวีดีโอนี้ครับ https://youtu.be/GkxrTki8TDo วันนี้ Mr.Micropile จะพูดถึงทำไม ขนาดเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ 1) เสาเข็มกลม ขนาด … Read More

เพราะเหตุใด เมื่อเพิ่มความหนาของฐานรากให้หนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็ม ออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานผมพบว่ามีเพื่อนๆ หลายคนของเราสนใจกันเป็นพิเศษ โดยคำถามที่ผมได้รับตามมาก็ คือ เพราะเหตุใด เมื่อใดที่เราเพิ่มความหนาของฐานรากให้ค่อนข้างที่จะมีความหนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ? ผมขออนุญาตตอบตามหลักการที่เพื่อนๆ สามารถที่จะเข้าใจได้ด้วยภาษาบ้านๆ แบบนี้แล้วกันนะครับว่า เหตุผลที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด คือ การใช้ความหนาที่หนาจะทำให้ STIFFNESS หรือ ความแข็งแกร่ง … Read More

วิธีการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ช่วงหลายวันที่ผ่านมานั้นผมได้ไปตรวจงานที่หน้างานซึ่งอยู่ในโครงการก่อสร้างโครงการหนึ่งนะครับ ในโครงการนี้ผมได้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโดยใช้โครงสร้างเหล็กเป็นโครงสร้างหลักนะครับ ในโครงการนี้ผมพบว่าวิศวกรผู้ควบคุมงานของทาง ผรม นั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรที่จบการศึกษามาจากมหาวิทยาลัยเก่าของผมเอง เมื่อน้องท่านนี้ทราบว่าผมเป็นรุ่นพี่ก็ดีใจใหญ่ เค้าเลยฝากคำถามมายังผม 2 เรื่องด้วยกัน ผมเห็นว่าคำตอบต่อคำถามทั้งสองข้อนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านด้วยนะครับ ในวันนี้ผมจึงตัดสินใจจะมาตอบคำถามของน้องท่านนี้นะครับ คำถามข้อแรก คือ น้องท่านนี้สอบถามผมว่า เค้าเคยศึกษาวิธีการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กโดยวิธี ALLOWABLE … Read More

1 196 197 198 199 200 201 202