สร้าง รั้วไม่ให้ล้ม รั้วเอนเอียงไปหาเขา หรือล้ม เอนเอียงมาหาเรา

สร้าง รั้วไม่ให้ล้ม รั้วเอนเอียงไปหาเขา หรือล้ม เอนเอียงมาหาเรา สร้าง รั้วไม่ให้ล้ม รั้วเอนเอียงไปหาเขา หรือล้ม เอนเอียงมาหาเรา เราสามารถ ออกแบบ กำหนด ได้ตั้งแต่แรก ตั้งแต่งานตอกเข็ม ทำฐานราก ฉนั้นการออกแบบ ทางวิศวกรรม กับแบบทางสถาปัตยกรรม สามารถกำหนดได้ … Read More

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบถึงเรื่องหลักการทางด้านความปลอดภัยที่เราควรปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับอัคคีภัยภายในอาคารกันนะครับ โดยที่ผมได้ทำการสรุปหลักการในการที่เราจะสามารถป้องกันอุบติภัยอันเนื่องมาจากอัคคีภัยไว้ทั้งสิ้น 10 ข้อดังรายละเอียดต่อไปนี้นะครับ (1) ในการออกแบบอาคารแต่ละอาคาร ผู้ออกแบบควรที่จะพิจารณาและทำการออกแบบรายละเอียดในหมวดการป้องกันอัคคีภัยให้มีความเหมาะสมกับประเภทของอาคารที่เรากำลังจะทำการก่อสร้างด้วยนะครับ (2) ในกรณีที่อาคารของเราจำเป็นที่จะต้องมีบันไดหนีไฟ ก็ควรที่จะเลือกใช้คุณภาพของบานประตูหนีไฟที่เหมาะสมกับอาคารและการใช้งานด้วยนะครับ (3) ในการติดตั้งเหล็กดัดต่างๆ ภายในอาคารเพื่อป้องกันขโมยเราควรที่จะเลือกใช้ระบบสปริงชนิดมีปุ่มกดสำหรับเปิดและปิดด้วยนะครับ … Read More

การติดตั้งปั๊มน้ำ

การติดตั้งปั๊มน้ำ ติดตั้ง ปั๊มน้ำ ถังน้ำ ในบ้าน ควรต่อ บาย พาส เพื่อ เวลาที่น้ำประปาไหลแรง น้ำจะไหลเข้าไปในระบบเองโดยไม่ต้องผ่านปั๊มน้ำ ปั๊มน้ำทุกยี่ห้อ มีเทคนิคการติดตังบาย พาส อยู่แล้ว เพียงแต่เรากำชับ อีกที เพื่อย้ำ ความมั่นใจ Bhumisiam … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN)

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN) หากในการทำงานก่อสร้างนั้นมีการทำงานเสาเข็มและเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากจนเกินมาตรฐานที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานี้ คือ เราควรที่จะทำการแก้ไขโดยการทำ TRANSFER BEAM เพื่อที่จะทำหน้าที่ในการถ่าย นน จากโครงสร้างเสาตอม่อลงมายังฐานรากให้ได้โดยที่ไม่ทำให้เกิดผลใดๆ ต่อตัวโครงสร้างฐานรากนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายว่า หากไม่ทำตามคำแนะนำข้างต้น เราอาจมีวิธีการอื่นๆ ในการแก้ปัญหาเสาเข็มนั้นเกิดการหนีศูนย์ได้อย่างไรบ้างนะครับ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องแรงๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่เรามิอาจที่จะละเลยไม่ทำการออกแบบได้ นั่นก็คือ แรงโมเมนต์บิด หรือว่า TORSIONAL MOMENT FORCE นั่นเองนะครับ แรงโมเมนต์บิดนั้นจะเกิดขึ้นในองค์อาคารก็ต่อเมื่อต้องรับน้ำหนักบรรทุกแบบเยื้องศูนย์ออกห่างจากแนวแกนองค์ของอาคาร เช่น … Read More

ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING

ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF PLANE ของชิ้นส่วนโครงสร้างรับ แรงอัด คือค่า kL/r = 200 และ ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF … Read More

ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX ตามที่แสดงอยู่ในรูปนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร

ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX ตามที่แสดงอยู่ในรูปนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX นี้ก็คือ DISPLACEMENT ในทิศทางใน แนวราบ และ แนวดิ่ง ที่ NODE ตรงปลายยื่น (CANTILEVER END) … Read More

ความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

ปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น

ปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น   ในการพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสานั้นเราควรทำการพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ (1) ขนาดจำนวนชั้นของอาคารที่เสาต้นนั้นจะต้องรับ หากอาคารของเราเป็นเพียงอาคาร 1 ถึง 2 ชั้น เราอาจจะทำการออกแบบให้โครงสร้างเสานั้นมีขนาดปกติได้นะครับ กล่าวคือ อาจจะเป็นขนาดของเสาที่เล็กที่สุด คือ … Read More

ตารางแสดงความลึกของหลุมเจาะสำหรับเป็นแนวทางการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด

ตารางแสดงความลึกของหลุมเจาะสำหรับเป็นแนวทางการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด ก่อนอื่น เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล ที่เคยนำมาเล่าให้ฟังก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่ในช่องๆ นี้ของตารางที่แสดงนี้จะไมได้แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะตรงๆ แต่ กลับแสดงว่าระยะนี้จะมีค่าเท่ากับระยะความลึกที่เมื่อทำการทดสอบ SPT เพื่อที่จะหาค่า N … Read More

1 2 3 4 5 6