บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สปันไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในการต่อเติม สามารถหาคำตอบได้จาก วีดีโอนี้ครับ

สปันไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในการต่อเติม สามารถหาคำตอบได้จาก วีดีโอนี้ครับ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มสภาพชั้นดิน ทดสอบโดย Dynamic Load … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากมีเพื่อนของพวกเราได้สอบถามผมมาว่า จากตารางที่แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่เราควรที่จะใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกันกับขนาดและความสูงของอาคารที่เรามีความต้องการที่จะทำการก่อสร้าง ที่ผมนำมาฝากเพื่อนๆ ในการโพสต์ก่อนหน้านี้นั้นมีหน่วยงานใดที่ให้คำแนะนำให้ใช้ตารางนี้นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตชื่นชมในตัวของน้องท่านนี้ก่อนนะครับที่ได้กรุณาสอบถามคำถามข้อนี้มา เพราะ หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ … Read More

การป้องกันไม่ให้โครงสร้างเหล็กต้องสัมผัส หรือขังอยู่กับน้ำ หรือความชื้นโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อดีของการ GROUT ใต้แผ่นเหล็กด้วย NON-SHRINK เอามาฝากเพื่อนๆ ไปหลายโพสต์แล้ว วันนี้ผมมีโอกาสได้พบเจอมาอีกกรณีหนึ่ง ผมก็เลยจะขอนำเอารูปกรณีนี้ของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณเอามาฝากเพื่อนๆ ให้ได้ดูกันนะครับ   ก่อนอื่นรูปทั้ง … Read More

ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX ตามที่แสดงอยู่ในรูปนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร

ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX ตามที่แสดงอยู่ในรูปนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX นี้ก็คือ DISPLACEMENT ในทิศทางใน แนวราบ และ แนวดิ่ง ที่ NODE ตรงปลายยื่น (CANTILEVER END) … Read More

1 158 159 160 161 162 163 164 202