บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ในช่วงที่ผ่านมาหลายๆ วันนี้เนื้อหาที่ผมโพสต์และแชร์ก็จะหนักบ้างอะไรบ้างนะครับ … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีขนาดเท่าไหร่ สามารถขนบนกระบะเล็กได้ไหม ครับ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีขนาดเท่าไหร่ สามารถขนบนกระบะเล็กได้ไหม ครับ Mr.Micropile มีคำตอบจากวีดีโอนี้ครับ https://youtu.be/GkxrTki8TDo วันนี้ Mr.Micropile จะพูดถึงทำไม ขนาดเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ 1) เสาเข็มกลม ขนาด … Read More

งานต่อเติมภายในและภายนอกอาคาร แนะนำ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม

งานต่อเติมภายในและภายนอกอาคาร แนะนำ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยได้ทำการหยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างจริงๆ ที่ใช้ทำการอธิบายว่า เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีการกำหนดให้มีการใช้งานทั้งค่า FFL. และ SFL. นี้ในการทำงานก่อสร้าง ซึ่งรูปตัวอย่างในครั้งนั้นจะเป็นรูปที่แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นหนึ่งในอาคารหลังนี้ ซึ่งทางสถาปนิกผู้ทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมได้ทำการออกแบบโดยที่ได้กำหนดเอาไว้ว่า ให้ทำการจบผิวโดยรอบของโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นนี้ด้วยการกรุด้วยหินแกรนิต ซึ่งเราจะสามารถเห็นได้จากรูปว่าระยะจากผิวของโครงสร้างเสาออกมาจนถึงผิวที่อยู่ที่ขอบด้านนอกสุดของหินแกรนิต จะมีระยะทั้งหมดเท่ากับ … Read More

1 157 158 159 160 161 162 163 202