บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

puzzle54

เฉลยดูด้านล่างนะครับ Mr. SpunMan มีปัญหาง่ายๆ มาฝากแฟนเพจได้ขบคิดกันครับ เมื่อตอบแล้ว ค่อยเปิดดูเฉลยทีหลังนะครับ http://www.bhumisiam.com/puzzle53 Mr.SpunMan Bhumisiam ภูมิสยาม ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile 1) ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 2) … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีขนาดเท่าไหร่ สามารถขนบนกระบะเล็กได้ไหม ครับ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีขนาดเท่าไหร่ สามารถขนบนกระบะเล็กได้ไหม ครับ Mr.Micropile มีคำตอบจากวีดีโอนี้ครับ https://youtu.be/GkxrTki8TDo วันนี้ Mr.Micropile จะพูดถึงทำไม ขนาดเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ 1) เสาเข็มกลม ขนาด … Read More

เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP ครับ

เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมโรงงาน หรือ ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. กำลังมาแรง วันนี้ … Read More

Blow Count เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการประเมิน การรับน้ำหนักของเสาเข็ม

Blow Count เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการประเมิน การรับน้ำหนักของเสาเข็ม การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 202