บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการส่งข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์เพื่อที่จะปรึกษาเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามก็ไม่ได้รู้สึกว่าเป็นปัญหาอะไรใหญ่โตนัก แต่ คิดไปคิดมาก็ทำให้นึกไปว่า หากเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนไปเจอเข้ากับตัวเองก็อาจที่จะยังไม่ทราบวิธีในการแก้ปัญหาข้อนี้เช่นกัน ผมจึงตัดสินใจที่จะนำปัญหาข้อนี้มาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ปัญหาข้อนี้ก็คือ ปัญหาเกี่ยวกับ วิธีในการตรวจสอบจำนวนรอบในการทาสีกันสนิมนะครับ   ตามปกติแล้วหากว่าในงานวิศวกรรมโครงสร้างของเรานั้นมีงานจำพวก วิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ … Read More

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวกับโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ เป็นอย่างไร เกิดอะไรขึ้น?

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวกับโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ เป็นอย่างไร เกิดอะไรขึ้น? โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่า มีผล และ มีความสำคัญ อย่างมากต่อการออกแบบให้อาคารหนึ่งๆ นั้นสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ นั่นก็คือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ๆ จะทำการก่อสร้าง นั่นเองนะครับ จากเหตุการณ์หลายๆ เหตุการณ์ในอดีตแสดงให้เราเห็นได้ว่า สภาพของชั้นดินซึ่งที่เป็นที่ตั้งของอาคารจะมีผลต่อความเสียหายของโครงสร้างอาคารอันเนื่องมาจากแรงกระทำจากแผ่นดินไหวเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ระดับของการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวจะขึ้นตรงกับชนิดของชั้นดินที่อยู่ใต้ฐานของอาคาร โดยที่อาคารที่ต้องอยู่บน ชั้นดินแข็ง … Read More

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล ในรูปจะเป็นรูปเคเบิ้ลที่ถูกขึงอยู่ระหว่างจุด X และ X’ ซึ่งระดับของตำแหน่ง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากันทำให้เมื่อเคเบิ้ลนี้เกิดการเสียรูปไปตามแรงโน้มถ่วงจนมีตำแหน่งที่เคเบิ้ลนั้นเกิดการหย่อนตัวลงไปต่ำที่สุด ณ จุดกึ่งกลางของเคเบิ้ลพอดี โดยมีระยะการเสียรูปนี้เท่ากับ 5000 mm หรือ 5 m ระยะห่างระหว่าง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากับ … Read More

1 98 99 100 101 102 103 104 202