เทคนิคการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ โดยที่เนื้อหานี้มีความน่าสนใจมากในระดับหนึ่งนั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้ โดยที่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตกล่าวนำถึงวิธีการและหลักการของเทคนิคๆ นี้ก่อนนะครับ … Read More

วิธีในอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูล ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมจะขอทำการแทรกเนื้อหาการนำผลการทดสอบดินที่ผมไปพบมาจากการทำงานจริงๆ ของผมมาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับ โครงการก่อสร้างแห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณซอยของถนนรามคำแหง ซึ่งหากดูแบบหยาบๆ และผิวเผินแล้วก็อาจจะพบว่าสภาพของชั้นดินนั้นน่าที่จะมีความปกติเพราะดินเดิมนั้นเป็นดินที่มีอยู่เดิม และ จะมีส่วนดินใหม่ที่เปผ้นดินถมที่ผิวซึ่งมีความหนาประมาณ 1.5-2 ม … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับ ตำหนิของงานเชื่อมเหล็กรูปพรรณ หรือ WELDING DEFECT กันต่อจากโพสต์ในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ผมจะขออนุญาตมากล่าวถึง ลักษณะ และ สาเหตุ ของการเกิดร่องรอยการแตกร้าวประเภทต่างๆ ให้เพื่อนๆ … Read More

วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นะครับ   หากจะให้อธิบายให้เข้าใจให้ง่ายๆ ในขันตอนนี้เราทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์เพื่อหาระดับของผลตอบสนองต่างๆ ที่โครงสร้างของเรานั้นจะมีต่อแรงแผ่นดินไหวที่เข้ามากระทำต่ออาคารของเรานั่นเองนะครับ   หากทำการตั้งคำถามว่าเพราะเหตุใดเราถึงต้องสนใจค่าผลตอบสนองของโครงสร้าง ? หากจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายๆ … Read More

การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 17 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

วิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 16 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

วิธีในการออกแบบโครงสร้างเพื่อให้มีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีในการออกแบบโครงสร้างเพื่อให้มีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ ซึ่งจะถือได้ว่าวิธีการนี้เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะมีความทันสมัยมากวิธีการหนึ่ง นั่นก็คือ การประเมินสมรรถนะโดยอาศัยข้อมูลวิศวกรรมแผ่นดินไหว หรือ PERFORMANCE BASED EARTHQUAKE ENGINEERING หรือ PBEE นั่นเองนะครับ   ซึ่งวิธีการนี้จะแตกแยกย่อยออกไปตามลักษณะของวัสดุหลักที่นำมาใช้ทำการก่อสร้างตัวระบบโครงสร้างในอาคารของเรา … Read More

วิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 77 ซึ่งจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องต่อเนื่องมาจากปัญหาข้อที่ 76 ที่ผมเคยได้นำมาอธิบายแก่เพื่อนๆ … Read More

การเจาะนำ หรือ PRE-BORE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกับขั้นตอนในการทำงานเสาเข็มขั้นตอนหนึ่งที่มีชื่อว่า การเจาะนำ หรือ PRE-BORE ซึ่งในบางครั้งบางคนก็เรียกว่า การเจาะกด หรือ AUGER PRESS นะครับ   คำว่า … Read More

ข้อกำหนด การเสริมกำลังโครงสร้างแผ่นพื้นท้องเรียบ ให้สามารถมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ก่อนที่ในวันพรุ่งนี้และช่วงสุดสัปดาห์เพื่อนๆ จะได้ไปพักผ่อนกันในช่วงวันหยุดปีใหม่ ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องที่มาที่ไปของข้อกำหนดในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างที่มีการกล่าวถึงไว้ใน DESIGN CODE อย่าง ACI 352.1R-12 ที่ได้กล่าวถึงเรื่องข้อกำหนดสำหรับการเสริมกำลังแก่โครงสร้างแผ่นพื้นท้องเรียบให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 36