วิธีการทำบ่อสังเกตการณ์ หรือ OBSERVATION WELL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเนื้อหาในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้พูดถึงเรื่อง ผลของระดับน้ำใต้ดิน และผมก็ได้แจ้งไปด้วยว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงวิธีในการที่พวกเรานิยมนำมาใช้ในการตรวจสอบหาค่าของระดับน้ำใต้ดินที่ค่อนข้างให้ผลที่น่าเชื่อถือมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ   โดยที่วิธีการแรกที่ผมตั้งใจที่จะนำเอามาหยิบยกเล่าให้เพื่อนๆ ฟังในวันนี้ก็คือ วิธีการทำบ่อสังเกตการณ์ หรือ … Read More

วิธีการออกแบบ ระยะการเรียงตัวของเหล็กเสริมในแผ่นพื้น แบบทางเดียว และสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงกรณีของการออกแบบชนิดทั่วๆ ไปในเรื่อง วิธีในการออกแบบระยะการเรียงตัวของเหล็กเสริมในแผ่นพื้นทั้งแบบทางเดียวและสองทางหลังจากที่เราได้ปริมาณของเหล็กเสริมใช้งานมาแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบและทำความเข้าใจกันนะครับ   แผ่นพื้นที่มีช่วงพาดเป็นแบบทิศทางเดียวที่มีการวางตัวอยู่บนคาน หรือ ON BEAM ONE … Read More

ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยโพสต์และให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE ว่ามีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 ได้แก่แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT … Read More

เหล็กเสริมต้านทานต่อแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นสำหรับกรณีของแผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เป็นอย่างไรกันบ้างครับเพื่อนๆ เราไม่ได้พบกันในหัวข้อนี้นานหลายสัปดาห์เลย ก็ไม่เป็นไรนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและยกตัวอย่างต่อถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานต่อแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นสำหรับกรณีของแผ่นพื้นสองทางให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อหลังจากที่ติดค้างเพื่อนๆ ในเรื่องนี้อยู่หลายสัปดาห์เลย   หลักการในการคำนวรหาค่าแรงดัดสำหรับการออกแบบสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง นั้นจะมีความยุ่งยากมากกว่ากรณีของแผ่นพื้นทางเดียวอยู่เล็กน้อยแต่ก็ไม่ได้ถือว่ามากมายอะไรนักนะครับ … Read More

วิธีในการประยุกต์ใช้กับโครงสร้างประเภท โครงข้อแข็ง หรือ RIGID FRAME

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมยังจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนอยู่นะครับ    สืบเนื่องจากปัญหาในข้อเมื่อวานนี้ที่ได้มีรุ่นน้องของผมในเฟซบุ้คท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามผมเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมว่า   “ก่อนหน้านี้เห็นว่าอาจารย์สมพรรวมถึงอาจารย์หลายๆ ท่านซึ่งก็รวมถึงผมด้วยที่มักพูดถึงเรื่องจุดรองรับแบบที่สามารถมีการเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE SUPPORT อยากจะทราบว่าเพราะเหตุใดเราจึงจะทำการพิจารณาให้จุดรองรับนั้นเป็นจุดรองรับแบบที่ไม่มีการเสียรูปหรือ RIGID SUPPORT เลยไม่ได้ละครับ ?”   ซึ่งผมก็ได้ให้หลักการของเหตุและผลไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วว่าเพราะเหตุใดเราจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการพิจารณาให้จุดรองรับหนึ่งๆ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมยังจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ อยู่นะครับ เนื่องจากเมื่อเย็นของเมื่อวานนี้ได้มีน้องนักศึกษาท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมและได้แจ้งว่าอยากจะรบกวนให้ช่วยอธิบายและแสดงวิธีในการแก้ปัญหาในกรณีที่โครงสร้างๆ คานยื่นโครงสร้างหนึ่งซึ่งมีรูปทรงแปลกๆ ดังรูปที่แสดง นั่นก็คือค่าความสูงของหน้าตัดจะมีค่าไม่คงที่ตลอดความยาวของคานนั่นเอง ซึ่งน้องได้แจ้งว่าต้องนำเอาคำตอบไปใช้ค่อนข้างด่วนซึ่งเรียนตามตรงผมไม่อยากที่จะสนับสนุนให้น้องทำแบบนี้เท่าใดนักเพราะเกรงว่าจะทำให้พวกเราหลายๆ คนเอาเยี่ยงอย่างได้แต่เอาเป็นว่าผมทำให้ครั้งนี้เป็นกรณีพิเศษก็แล้วกันเพราะเห็นว่าน้องมีความจำเป็นต้องนำคำตอบในคำถามข้อนี้ไปใช้ในโครงงานปริญญานิพนธ์ของน้อง เอาเป็นว่าเรามาดูรายละเอียดของคำถามกันเลยดีกว่านะครับ มีคานยื่นที่มีความยาวของช่วงยื่นเท่ากับ 400 มม หรือ 40 ซม หรือ 0.40 … Read More

สรุปประเด็นเรื่องน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงเรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ให้เพื่อนๆ ได้มีโอกาสรับทราบกันไปแล้ว รวมถึงเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาผมยังได้ทำการหยิบยกเอาประเด็นเรื่องผลของระดับน้ำใต้ดินที่มีต่อค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินมาเป็นคำถามประจำสัปดาห์ให้แก่เพื่อนๆ เพื่อทำความเข้าใจเพิ่มเติมไปแล้วด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสรุปประเด็นเรื่องน้ำใต้ดินนี้โดยจะทำการแบ่งกรณีของน้ำใต้ดินนี้ออกเป็นกรณีๆ เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนจะได้เข้าใจและนำไปใช้ในการคำนวณได้ถูกต้องนั่นเองครับ   เพราะฉะนั้นก่อนที่ผมจะเริ่มต้นทำการอธิบาย … Read More

ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอและเกริ่นถึงเรื่อง ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF … Read More

ตัวอย่างการคำนวณในเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าว อันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันไปนั้น ปรากฎว่ามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งซึ่งติดตามอ่านบทความของผมได้ทักผมมาหลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้ทำการยกตัวอย่างการคำนวณในเรื่องๆ นี้สักหน่อยเพื่อนๆ จะได้เกิดความเข้าใจและนึกภาพออกกัน ครั้นจะรอนำเอาคำถามข้อนี้ไปเป็นคำถามประจำสัปดาห์ก็คิดว่าจะไม่เหมาะเพราปัญหาข้อนี้จะมีความง่ายดายมากจนเกินไป ผมเลยตัดสินใจว่าจะขออนุญาตเพื่อนๆ นำตัวอย่างการคำนวณมาแสดงให้ได้ดูกันในวันนี้เสียเลยก็แล้วกัน ทั้งนี้จะได้ไม่เป็นการขาดตอนจากเมื่อวานด้วย โดยที่ปัญหาที่ผมสมมติขึ้นมานั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ครับ … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 36