ปัญหาเรื่อง ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไป เกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงประมาณสักหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้รับข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากน้องท่านหนึ่งซึ่งใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ผมจะรบกวนขอคำปรึกษาดังนี้ครับ หากเรามีความต้องการที่จะทำการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะแบบแห้งหรือ DRY PROCESS BORED PILE ด้วยวิธี DYNAMIC LOAD … Read More

การคำนวณหาค่า Element Stiffness Matrix เมื่ออ้างอิงไปยัง Global Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

การคำนวณหาค่า Element Stiffness Matrix เมื่ออ้างอิงไปยัง Local Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

ค่าความสามารถในการต้านทานการทรุดตัว ของตัวเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในหลายๆ โพสต์ที่ผ่านมาที่เราพูดถึงโครงสร้างเสาเข็มแบบกลุ่มหรือ PILE GROUP เราได้ทำการพูดและพิจารณาถึงเฉพาะ “ค่าความสามารถในการรับกำลัง” ของตัวเสาเข็มกลุ่มเพียงเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้เกิดความครบถ้วนในเรื่องๆ นี้จริงๆ ผมจำเป็นที่จะต้องพูดถึงถึง “ค่าความสามารถในการต้านทานการทรุดตัว” ของตัวเสาเข็มกลุ่มด้วยนะครับ … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการยกตัวอย่างถึงการนำเอาวิธีในการวิเคราะห์ความสามารถในการรับแรงด้านข้างประลัยตามทฤษฏีของ MEYERHOF นี้มาให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับชมกันอีกสักหนึ่งโพสต์ ซึ่งก็น่าจะเป็นโพสต์สุดท้ายของหัวข้อๆ นี้สำหรับการโพสต์ในครั้งนี้ ต่อไปหากมีเพื่อนท่านใดที่มีความสนใจอีกก็อยากให้ทำการสอบถามเข้ามาอีกที ผมก็จะค่อยนำเอาเรื่องๆ นี้มาทำการอธิบายเพิ่มเติมให้เพื่อนๆ … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในสัปดาห์ที่แล้วผมพูดจบไปแล้วถึง วิธีในการคำนวณหาค่าNORMAL FORCE STIFFNESS หรือ AXIAL STIFFNESS หรือ ซึ่งเราอาจจะแทนค่าๆ นี้ด้วยค่า … Read More

วิศวกรรมงานฐานรากงานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้ในหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ” โดยที่หัวข้อของวิทยาการในการคำนวณในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม นะครับ เนื่องจากผมยังค้างเพื่อนๆ ถึงการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่มาที่ไปของวิธีในการคำนวณหาค่า Kr1 ค่า Kr2 และค่า Ka โดยการประมาณการค่าตามเนื้อหาที่ผมได้อธิบายไปแล้วในโพสต์ของเมื่อวานนี้ ผมเลยมีความคิดว่าไหนๆ ก็ไหนๆ แล้วเรามาอธิบายให้จบกันไปเลยจะดีกว่า … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ผมยังวนเวียนอยู่กับการตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่อง เสาเข็มที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดหรือ BENDING FORCE ร่วมกันกับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL FORCE ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งประเด็นล่าสุดที่แฟนเพจท่านนี้ได้ทำการสอบถามเข้ามานั้นก็คือ … Read More

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมจะมาทำการอธิบายและพูดเจาะลึกลงไปในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง การคำนวณหาค่ากำลังการรับน้ำหนักและการทรุดตัวของฐานรากแบบเสาเข็ม ให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบกันนะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตเกริ่นก่อนว่า หากถามผมว่า ถ้าจะให้ผมทำการให้คำแนะนำแก่เพื่อนๆ ในการใช้งานเสาเข็ม เพื่อให้เสาเข็มในอาคารของเพื่อนๆ นั้นจะได้มีกำลังในการรับน้ำหนักที่สูงที่สุดและมีการทรุดตัวของเสาเข็มที่น้อยที่สุดด้วย … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในตอนแรกผมมีความตั้งใจว่าในสัปดาห์นี้ผมจะทำการโพสต์เนื้อหาที่มีความเกี่ยวเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES แต่เนื่องจากผมได้รับคำถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งอยากจะให้ผมทำการอธิบายว่า “หากมีการระบุเอาไว้ว่า เสาเข็มต้านหนึ่งๆ จะต้องมีความสามารถในการรับโมเมนต์ดัดหรือ … Read More

1 8 9 10 11 12 13 14 36