การคำนวณหาค่าหน่วยแรงเฉือน ตามแนวยาวเพื่อนำมาใช้ในการออก แบบหน้าตัดเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งไปในโพสต์ครั้งที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างในการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องหน่วยแรงเฉือนตามแนวยาว หรือ SHEAR FLOW เพื่อเป็นการทำความเข้าใจให้เห็นภาพแก่น้องวิศวกรท่านนี้รวมถึงเพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบรับชมกันต่อนะครับ ก่อนอื่นผมไม่ทราบจริงๆ ว่าขนาดของหน้าตัดเหล็กตัว C-LIGHT LIP ที่น้องนำมาให้ผมดูในรูปนี้มีขนาดเท่าใด … Read More

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาเหตุผลหนึ่งของการอาศัยวิธีการจำลองให้โครงสร้างเสาเข็มโดยอาศัยหลักการของ SOIL SPRING นั่นก็คือ ทฤษฎีของคานที่วางอยู่บนฐานรากที่มีความยืดหยุ่น หรือ ในภาษาอังกฤษจะมีชื่อเรียกว่า THEORY OF … Read More

การป้องกันไม่ให้โครงสร้างเหล็กต้องสัมผัส หรือขังอยู่กับน้ำ หรือความชื้นโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อดีของการ GROUT ใต้แผ่นเหล็กด้วย NON-SHRINK เอามาฝากเพื่อนๆ ไปหลายโพสต์แล้ว วันนี้ผมมีโอกาสได้พบเจอมาอีกกรณีหนึ่ง ผมก็เลยจะขอนำเอารูปกรณีนี้ของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณเอามาฝากเพื่อนๆ ให้ได้ดูกันนะครับ   ก่อนอื่นรูปทั้ง … Read More

การคำนวณหาว่าระยะการเสียรูปตามแนวแกนของวัสดุ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากโครงสร้างแท่งเหล็กทั้ง 4 ชิ้นดังรูปๆ นี้จะมีความยาวโดยรวมทั้งสิ้น 240 เซนติเมตร … Read More

เทคนิคง่ายๆ ที่สามารถนำไปใช้ในการทำงานควบคุมงานก่อสร้างได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสพบปะและพูดคุยกับเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งเพื่อนท่านนี้ของผมนั้นเป็นวิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมงานก่อสร้างเป็นหลักเลยและเราก็ได้สนทนากันในหลายๆ ประเด็น หนึ่งในประเด็นที่มีความน่าสนใจก็คือ เรื่องเทคนิคง่ายๆ ที่เพื่อนของผมท่านนี้นำมาใช้ในการทำงานควบคุมงานก่อสร้างซึ่งเค้าก็ได้สรุปออกมาสั้นๆ ออกมาเป็นทั้งหมด 5 … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุม ของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณเรื่องเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิดเอามาฝากแก่เพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์ก็แล้วกันและเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาเริ่มต้นดูกรณีของการเสริมเหล็กในครั้งนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ผมมีพื้นๆ หนึ่งที่มีการเสริมเหล็กใน 1 ชั้น ซึ่งเหล็กบนจะเท่ากับ DB12mm@150mm ส่วนเหล็กล่างจะเท่ากับ DB12mm@200mm … Read More

สาเหตุที่ทำให้เกิดข้อบกพร่อง และไม่เรียบร้อยขึ้นในงานการก่อสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการใช้งานและการก่อสร้างโครงสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อหรือ DIAPHRAGM WALL เอามาฝากเพื่อนๆ กันไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาประเด็นๆ หนึ่งที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกันกับโครงสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อเอามาฝากเพื่อนๆ กันสักเล็กน้อยนั่นก็คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดข้อบกพร่องและไม่เรียบร้อยขึ้นในงานการก่อสร้างโครงสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อนั่นเองนะครับ … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยได้ทำการหยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างจริงๆ ที่ใช้ทำการอธิบายว่า เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีการกำหนดให้มีการใช้งานทั้งค่า FFL. และ SFL. นี้ในการทำงานก่อสร้าง ซึ่งรูปตัวอย่างในครั้งนั้นจะเป็นรูปที่แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นหนึ่งในอาคารหลังนี้ ซึ่งทางสถาปนิกผู้ทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมได้ทำการออกแบบโดยที่ได้กำหนดเอาไว้ว่า ให้ทำการจบผิวโดยรอบของโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นนี้ด้วยการกรุด้วยหินแกรนิต ซึ่งเราจะสามารถเห็นได้จากรูปว่าระยะจากผิวของโครงสร้างเสาออกมาจนถึงผิวที่อยู่ที่ขอบด้านนอกสุดของหินแกรนิต จะมีระยะทั้งหมดเท่ากับ … Read More

ปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากบนชั้นดินอ่อน และความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาเนื้อหาเกี่ยวกับกรณีของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินอ่อนเอามาฝากเพื่อนๆ อีกสักโพสต์และสำหรับวิธีที่ถูกนำมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินอ่อนที่ผ่านมาที่ได้รับผลค่อนข้างที่จะดีซึ่งผมจะนำมาสรุปให้ฟังในวันนี้ก็ได้แก่ 1.วิธีการถ่ายน้ำหนักของดินถมหรือสิ่งปลูกสร้างให้ลงไปสู่ชั้นดินที่มีความแข็งแรงมากกว่าและมีอัตราของการทรุดตัวที่น้อยกว่า ซึ่งก็ได้แก่การใช้เสาเข็มดินซีเมนต์หรือ SOIL-CEMENT COLUMN ซึ่งโดยรวมก็พบว่าสามารถที่จะใช้งานได้ดีในระดับหนึ่งแต่ก็ยังพบว่ายังปัญหาอยู่บ้าง เช่น … Read More

ปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานราก บนชั้นดินอ่อนและความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาประเด็นๆ หนึ่งที่มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกันกับปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากบนพื้นที่ๆ มีชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อนนั่นและเพราะเหตุใดการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินนั้นจึงมีความสำคัญมาก นั่นก็คือ การวิบัติของโครงสร้างเนื่องจากชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อน เอามาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านเพื่อเป็นวิทยาทานกันนะครับ จากรูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

1 6 7 8 9 10 11 12 36