การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ก่อนที่ทุกอย่างจะพร้อมสำหรับการไลฟ์สดในทุกๆ วันจันทร์ผมเลยตั้งใจจะพูดถึงและแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในหัวข้อ “ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง” ไปพลางๆ ก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ ตอนที่เราทำการออกแบบโครงสร้าง หากเราอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD นอกจากเราจะต้องทำการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS นั้นไม่ให้เกินค่าแรงเค้นที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE … Read More

ตอบปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B … Read More

การแก้ไขฐานราก เมื่อจุดรองรับนั้น เป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F3 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

วิธีในการจำแนกว่า จุดต่อ SIMPLY SUPPORT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ถึงวิธีในการจำแนกว่า จุดต่อของเรานั้นเป็นจุดต่อแบบใดระหว่างจุดต่ออย่างง่าย หรือ SIMPLY SUPPORT เพียงเท่านั้น หรือ จุดต่อแบบยึดแน่น หรือ RIGID CONNECTION … Read More

ประสบการณ์เกี่ยวกับ การก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของข้อความว่า “ทราบมาว่าตัวผมนั้นทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบและผู้ควบคุมการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเป็นหลัก เลยอยากจะถามว่าจากประสบการณ์ส่วนตัวของผมนั้นเคยเจอกรณีใดที่มีการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าหากว่าเป็นไปได้ก็อยากให้ผมนั้นยกตัวอย่างเป็นรูปหรือกรณีประกอบคำอธิบายด้วยก็น่าจะดีครับ” จริงๆ ผมก็คิดอยู่นานนะว่าจะเอาอย่างไรดีเพราะมีหลายๆ โครงการเลยที่เป็นกรณีแบบนี้ ซึ่งผมคิดไปคิดมาแล้วผมจึงตัดสินใจขอยกเอากรณีศึกษาจากโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งก็แล้วกัน ซึ่งผมก็จะขอออกตัวเอาไว้ก่อนล่วงหน้าเลยว่า … Read More

ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าจะเป็นรูปของโครงสร้างสะพานเชื่อมซึ่งมีการทำขึ้นมาจากโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ คำถามในวันนี้ก็ยังคงสั้นๆ และง่ายๆ เหมือนเดิมนั่นก็คือ ที่จุดต่อที่ผมได้ทำการวงเอาไว้ด้วยวงกลมสีเหลืองของเจ้าโครงสร้างสะพานเชื่อมนี้จะเป็นจุดต่อแบบใดระหว่าง … Read More

การดูแลรักษาจุดรองรับของโครงสร้างสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั้นผมได้โพสต์ให้ความรู้กับเพื่อนๆ ว่าสำหรับจุดรองรับประเภท เช่น ประเภท ELASTOMERIC BEARING ประเภท ROLLER BEARING และประเภท ROCKER BEARING … Read More

ความรู้เรื่องRollerBearingและRockerBearing

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั้นผมได้ทำการตอบคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งไปโดยที่ใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ทำไมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเสาตอม่อกับคาน คอร เหมือนในรูปๆ นี้จึงมักที่จะมีการทำเป็นช่องว่างเอาไว้คะ เหมือนเอาอะไรมาหนุนเอาไว้ ไม่ทราบว่าจุดประสงค์นั้นเพื่อทำให้จุดรองรับนี้เป็นแบบ ROLLER หรือเปล่าคะ ? และเหตุใดเค้าจึงต้องยกขึ้นนิดนึงด้วยคะ ?” … Read More

วิธีการแก้ปัญหา โครงสร้างพื้นที่มีการทรุดตัวไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ ครั้งที่ผ่านมานั้นผมเคยได้หยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนบนนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันให้กับเพื่อนๆ ไปบ้างแล้ว ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอากรณีตัวอย่างของของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนล่างนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีในวันนี้เป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ใช้งบประมาณไม่เยอะเท่าใดนัก เราจะมาดูกันซิว่าการแก้ไขด้วยวิธีการนี้มีข้อดีหรือข้อด้อยอย่างไรนะครับ วิธีการที่ว่าก็คือ การปล่อยให้โครงสร้างส่วนล่างหรือจะเรียกว่าพื้นก็ได้ ให้เกิดการทรุดตัวแบบแตกต่างกันไปเลยโดยที่จะไม่ทำการซ่อมแซมโครงสร้างทั้งส่วนใหม่และเก่านี้เลย … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 36