การคำนวณหน้าตัดโครงสร้าง ที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดเปรียบเทียบกัน ระหว่างมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกาและฝั่งอังกฤษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ค่าตัวคูณลดกำลัง หรือ REDUCTION FACTOR ซึ่งก็คือค่า Ø ในมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกา หรือ ACI318 … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม วิธีในการปฎิบัติงานเหล็กเสริมหลักและเหล็กเสริมรองภายในฐานรากที่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นได้มีแฟนเพจของเราท่านหนึ่งได้ให้ความกรุณาสอบถามเข้ามาผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ของทางเพจในทำนองว่า “ผมขอสอบถามหน่อยนะครับว่า ตามปกติแล้วเวลาที่เราจะทำการวางเหล็กเสริมหลักหรือเหล็กเสริมรองให้ลงไปอยู่ในโครงสร้างฐานราก เราจะต้องทำการกำหนดให้เหล็กเสริมดังกล่าวนี้วางตัวอยู่บนลูกปูน ดังนั้นหากจะว่ากันตามหลักการที่ถูกต้องทางด้านงานวิศวกรรมแล้ว ไม่ทราบว่าเราสามารถที่จะทำการกำหนดให้เหล็กเสริมหลักหรือเหล็กเสริมรองที่วางตัวอยู่ในโครงสร้างฐานรากนี้ให้การวางตัวอยู่ที่ด้านบนของโครงสร้างเสาเข็มโดยตรงโดยที่ไม่ต้องมีลูกปูนมาคั่นกลาง ได้ หรือ ไม่ ครับ?” … Read More

ที่มาของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล ว่าเพราะเหตุใดหน้าตาของสมการจึงออกมาดังรูปที่ได้แสดงประกอบอยู่ในโพสต์ๆ นี้ ? ซึ่งผมก็ได้ตอบไปในแชทแทบจะในทันทีเลยว่า … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ มีความประสงค์ที่จะทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล แบบหล่อในที่ๆ มีลักษณะเป็นโครงสร้างคานต่อเนื่องแบบ 3 ช่วง … Read More

การยกตัวอย่างเพื่ออธิบายเรื่องการกระจายตัวซ้ำของแรงภายในระบบโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสปัดาห์ที่แล้วที่ผมได้แชร์คลิปๆ หนึ่งจากเพจ OFFSHORE STRUCTURAL CORNER ซึ่งภายคลิปๆ นั้นเป็นกำลังฉายภาพคนงานที่กำลังรื้อถอนโครงสร้างเสาที่อยู่ทางด้านล่างของโครงสร้างอาคารหนึ่งออกไป ซึ่งเท่าที่ดูแล้วอาคารหลังนี้ก็น่าจะเป็นอาคารสูงด้วย ซึ่งผมได้ให้คำอธิบายไว้ว่า อาคารหลังนี้น่าที่จะได้รับการก่อสร้างด้วยกรรมวิธีปกติธรรมดาทั่วๆ ไป ซึ่งพอโครงสร้างของเรานั้นมีกระบวนการๆ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 3 4 และ 5 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 และ 2 … Read More

ความรู้เรื่องการหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีแบบละเอียด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 2 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ โดยที่ในหน้านี้หลักๆ แล้วก็จะว่าด้วยเรื่องของการคำนวณหาคุณสมบัติและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับงานออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก … Read More

ปัญหาการเลือกวิธีในการตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงแบบแปลนของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น หรือ F2 … Read More

ตอบปัญหา การเลือกระบบโครงสร้างรั้วที่มีความเหมาะสมต่อการใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงแบบแปลนและรูปตัดของโครงสร้างรั้วซึ่งจะต้องทำหน้าที่รองรับน้ำหนักของผนังอิฐก่อและดินถมดังรูป หากเพื่อนๆ มีทางเลือกที่จะทำการก่อสร้างให้ระบบของโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นดังกรณีต่อไปนี้ กรณีที่ 1 … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – การออกแบบแผ่นเหล็กที่มีการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการพูดและอธิบายถึง วิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณ หรือ COLUMN BEARING PLATE ไปแล้วเป็นที่เรียบร้อย ดังนั้นในวันนี้ก็จะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงการออกแบบเจ้าโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณให้เพื่อนๆ ได้รับชมกันบ้าง ซึ่งผมก็จะขอหยิบยกและนำเอาปัญหาที่ผมได้ใช้ตั้งเป็นคำถามกับเพื่อนๆ ไปเมื่อวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมา โดยที่จะมีข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้นะครับ … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 36