“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” ความสำคัญของหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในการโพสต์เมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างหรือ CONFINED COMPRESSIVE STRESS ของหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล ที่ถูกทำการโอบรัดด้วยเหล็กปลอกให้กับเพื่อนๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งหากเพื่อนๆ ยังพอจำได้ว่าในการโพสต์สองครั้งก่อนหน้านี้ผมได้ทำการอธิบายไว้ว่า สาเหตุและความสำคัญที่พวกเรามีความจำเป็นที่จะต้องทำการพิจารณานำเอามาค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างนี้มาใช้ในการออกแบบหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” เหตุใดจึงควรคำนึงถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้ปรารภเป็นการส่วนตัวในหน้าเพจส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม ซึ่งสำหรับหลายๆ คนนั้นอาจจะคิดว่า … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมต้องเดินทางไปทำงานตรวจการทำงานซ่อมแซมและเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างอาคารเก่าในต่างจังหวัดซึ่งในวันนั้นจะต้องมีการตรวจสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มหรือ PILE INTEGRITY TEST ด้วย ซึ่งผลจากการไปดูงานวันนั้นทำให้ผมพบว่าในปัจจุบันยังมีวิศวกรหลายๆ คนที่ยังมีความเข้าใจที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไปจากข้อเท็จจริงหลายประการอยู่เหมือนกัน ดังนั้นผมจึงอยากจะขออนุญาตใช้พื้นที่ของการโพสต์นี้ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณเรื่องระยะการฝังของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีโครงสร้างคานคอนกรีตซึ่งจะมีค่ากำลังอัดประลัยของตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 240 KSC โดยที่ผมจะใช้เหล็กเสริมซึ่งเป็นเหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” การคำนวณระยะของการฝังเหล็กเสริมในคอนกรีตเพื่อที่จะใช้ในการรับแรงดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อไม่นานมานี้มีเพื่อนนายช่างท่านหนึ่ง ซึ่งเพื่อนท่านนี้มีหน้าที่หลักคือ การควบคุมการทำงานก่อสร้างที่หน้างาน เค้าได้อินบ็อกซ์เข้ามาสอบถามกับผมในประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง ระยะยึดเหนี่ยวของเหล็กเสริมเมื่อต้องฝังตัวอยู่ในโครงสร้างคอนกรีต โดยที่ใจความของประเด็นสนทนานั้นอยู่ที่ เพื่อนของผมท่านนี้กำลังจะทำการใช้งานเหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ SD40 ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริมเท่ากับ 20 มม … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” วิธีการก่อสร้างระบบโครงสร้างแผ่นพื้นและคานเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงประเด็นที่มีความสำคัญเกี่ยวกับเรื่อง การใช้งานระบบโครงสร้างแผ่นพื้นสำเร็จรูปเชิงประกอบ หรือ COMPOSITE SLAB STRUCTURAL SYSTEM ซึ่งเป็นหัวข้อๆ หนึ่งที่ผมเคยได้นำเอามาพูดถึงไปแล้วก่อนหน้านี้นั่นก็คือ วิธีในการก่อสร้างระบบโครงสร้างแผ่นพื้นเชิงประกอบ หรือ CONSTRUCTION … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR FAILURE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะเริ่มมาลงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของ รูปแบบของการวิบัติเนื่องด้วยแรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR FAILURE ซึ่งก็จะทำให้โครงสร้างคาน คสล ของเราวิบัติได้เช่นเดียวกัน … Read More

ค่าระยะเยื้องศูนย์มากที่สุด ที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรที่เพิ่งจบใหม่ท่านหนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วน้องท่านนี้ก็อายุน้อยกว่าผมเพียงไม่กี่ปีแต่ผมยอมรับในตัวแกเลยเพราะแกใช้ความมานะอุตสาหะตั้งใจเรียนจนจบในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ระดับปริญญาตรีตอนอายุ 30 กว่าๆ ได้ ผมขอแสดงความยินดีกับแกด้วยก็แล้วกันและขออำนวยพรให้แกมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานสืบไปนะครับ ทีนี้สิ่งที่แกนำเอาปรึกษากับผมนั้นต้องย้อนกลับไปตอนที่แกกำลังเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยู่ ซึ่งแกเคยไปอ่านเจอคำถามข้อหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง MatrixAnalysisOfStructure

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้แจ้งกับผมมาว่า เค้าอยากจะให้ผมอธิบายถึงเรื่องหลักการของ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า FEA … Read More

ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง การออกแบบเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างที่เป็นการแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่า MAGNIFICATION FACTOR โดยวิธีการละเอียดเอามาฝากให้แก่เพื่อนๆ โดยที่ตัวอย่างที่ผมจะนำเอามาให้เพื่อนๆ ดูในวันนี้จะเป็นการอธิบายการคำนวณให้ดูเฉพาะเพียงแค่การรับแรงดัดรอบแกนอ่อนของโครงสร้างเสา หรือ WEAK AXIS เพียงแค่แกนเดียว … Read More

1 2 3 4 5 6 7 36