ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน ด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ผมทำการอัดคลิปวีดีโอแนะนำถึงเรื่องราวต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ในหลายๆ เรื่องหลายๆ วิชา ผลปรากฏว่าได้รับความสนใจดีเลยทีเดียว ผมเลยมีความคิดว่าหากผมจะทำคลิปเพื่อนำมาใช้ในหัวข้อวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์บ้างก็น่าจะเป็นการดีเหมือนกันนะครับ ประกอบกับการที่เมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้เล่าให้ฟังไปแล้วว่าผมอยากที่จะนำเอาคำถามท้ายบทในหนังสือ TEXT BOOK ที่มีชื่อว่า DYNAMICS OF STRUCTURES … Read More

การคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการให้คำแนะนำและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับวิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION … Read More

วิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเริ่มต้นทำการให้คำแนะนำและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับวิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION … Read More

ปัญหาคราบน้ำฝน บนผนังหรือโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาเล่าปัญหาอย่างหนึ่งที่พวกเรามักที่จะพบเจออยู่กันเป็นประจำทุกครั้งที่เรานั้นทำการตกแต่งส่วนของบันไดและชานพักบันไดที่อยู่ในบริเวณพื้นที่ภายนอก จนบางคนก็เห็นปัญหาดังกล่าวจนเป็นกลายเป็นเรื่องที่เรียกได้ว่าคุ้นชินกันไปซะแล้ว นั่นก็คือ ปัญหาคราบน้ำฝน บนผนังหรือโครงสร้างนั่นเองนะครับ   จริงๆ แล้วสำหรับคนทั่วๆ ไปต้องถือว่าปัญหานี้ถือได้ว่าเล็กน้อยมากๆ เลยนะครับ แต่ หากว่าในสายตาของสถาปนิกหรือเจ้าของบ้านที่ค่อนข้างที่จะเป็นคนที่ละเอียดลออแล้วละก็คนละเรื่องเลยก็ว่าได้ เพราะ หากช่างที่ทำงานในบริเวณนี้ทราบถึงเทคนิคและวิธีการทำงานในบริเวณนี้เป็นอย่างดีก็คงจะไม่เกิดปัญหาแบบนี้ขึ้น … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการส่งข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์เพื่อที่จะปรึกษาเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามก็ไม่ได้รู้สึกว่าเป็นปัญหาอะไรใหญ่โตนัก แต่ คิดไปคิดมาก็ทำให้นึกไปว่า หากเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนไปเจอเข้ากับตัวเองก็อาจที่จะยังไม่ทราบวิธีในการแก้ปัญหาข้อนี้เช่นกัน ผมจึงตัดสินใจที่จะนำปัญหาข้อนี้มาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ปัญหาข้อนี้ก็คือ ปัญหาเกี่ยวกับ วิธีในการตรวจสอบจำนวนรอบในการทาสีกันสนิมนะครับ   ตามปกติแล้วหากว่าในงานวิศวกรรมโครงสร้างของเรานั้นมีงานจำพวก วิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ … Read More

การนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการแนะนำและให้คำอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับค่าๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ ค่าหนึ่งที่เราจะได้เมื่อเราทำการเจาะสำรวจดิน ค่าๆ นั้นก็คือค่าที่ได้จากการทำการทดสอบ STANDARD PENETRATION TEST นั่นเองนะครับ   … Read More

กระบอกแก้วแสดงข้อมูลของชั้นดินที่ทำการเจาะทดสอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตทำการแทรกเนื้อหานอกเรื่องจากเรื่องราวหลักๆ ที่เคยโพสต์อยู่กันสักหนึ่งโพสต์ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้ให้คำแนะนำและอธิบายถึงอุปกรณ์และเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ถือได้ว่ามีประโยชน์มากๆ เมื่อเพื่อนๆ นั้นได้ดำเนินการทำการทดสอบดิน นั่นก็คือ กระบอกแก้วแสดงข้อมูลของชั้นดินที่ทำการเจาะทดสอบ นั่นเองนะครับ   จากรูปที่เห็นจะเป็น กระบอกแก้วที่แสดงข้อมูลของชั้นดินที่ได้จากการเจาะทดสอบ … Read More

ประเภทการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงเรื่อง ประเภทของการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อเราได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาน่ะครับ   โดยที่การเก็บตัวอย่างของดินซึ่งได้จากการที่เรานั้นทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกันดังต่อไปนี้ครับ   ตัวอย่างของ … Read More

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ ที่จะทำการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่า มีผล และ มีความสำคัญ อย่างมากต่อการออกแบบให้อาคารหนึ่งๆ นั้นสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ นั่นก็คือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ๆ จะทำการก่อสร้าง นั่นเองนะครับ   จากเหตุการณ์หลายๆ เหตุการณ์ในอดีตแสดงให้เราเห็นได้ว่า … Read More

การออกแบบโครงสร้าง เพื่อให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง คำที่เรามักจะได้ยินอยู่บ่อยๆ เวลาที่เรามีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อที่จะให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้นะครับ   เริ่มต้นจากคำๆ แรกก็คือคำว่า “คาบการสั่น” หรือ “PERIOD” ซึ่งจริงๆ แล้วคำว่า “คาบการสั่น” ก็คือ ช่วงเวลาของแกว่งตัวไปแกว่งตัวกลับไปมาครบ … Read More

1 13 14 15 16 17 18 19 36