งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ หัวข้องานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) นะครับ วันอาทิตย์วันสบายๆ แบบนี้ผมมีเทคนิคในการทำแบบวิศวกรรมโครงสร้างที่ดีอย่างหนึ่งมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ โดยหากเพื่อนๆ นำหลักการๆ นี้ไปประยุกต์ใช้ เพื่อนๆ จะสามารถทำการอ่านแบบและดูรายละเอียดต่างๆ ที่ค่อนข้างที่จะง่าย แถมการทำแบบในลักษณะนี้ยังสามารถที่จะลดความผิดพลาดในการทำงานโครงสร้างลงได้มากวิธีการหนึ่งด้วยนะครับ … Read More

วันครูแห่งชาติ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้ตรงกับวันครูแห่งชาติ ซึ่งจะตรงกับทุกๆ วันที่ 16 มกราคม ของทุกๆ ปี ซึ่งจุดประสงค์ในการมีวันครูแห่งชาตินี้ ก็เพื่อให้ผู้เป็นนักเรียนนักศึกษาได้รำลึกถึงพระคุณของผู่ที่เป็นครูบาอาจารย์ ผู้คอยทำหน้าที่แม่พิมพ์ และ พ่อพิมพ์ ของชาติที่ได้กระทำการอบรมสั่งสอนพวกเรามาตั้งแต่ยังเล็ก ทำให้พวกเรานั้นได้เป็นคนที่ดีของสังคมและยังรู้ศาสตร์ต่างๆ และให้เรามีทักษะวิชาทางด้านการทำงานต่างๆ ติดตัวเราไปตลอดด้วยนะครับ ดังนั้นจึงอาจจะสามารถถือได้ว่า ครู หรือ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าเวลาที่ผมมักจะพูดถึง การออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักรขนาดใหญ่ (LARGE MACHINE FOUNDATION) ที่มีการสั่นตัวมาก (LARGE VIBRATION AMPLITUDE) ทางผู้ออกแบบเค้ามีวิธีการดูอย่างไรว่าโครงสร้างที่รองรับเครื่องจักรเหล่านี้มีความใช้ได้แล้ว … Read More

เหตุใด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยามถึงใช้เป็น เหล็กปลอกเกลียว แทนที่จะใช้ เหล็กปลอกเดี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่ผ่านๆ มานั้นทางผมมักได้รับคำถามในทำนองนี้ค่อนข้างบ่อยเลยดีเดียว ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาตอบคำถามของบรรดาแฟนเพจกันสักเล็กน้อยในประเด็นที่ว่า “เหตุใด เหล็กปลอก ในเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยามถึงได้ใช้เป็น เหล็กปลอกเกลียว แทนที่จะใช้ เหล็กปลอกเดี่ยว เหมือนในโครงสร้างเสาเข็มอื่นๆ ที่นิยมใช้กันโดยแพร่หลาย ?” ต้องขออนุญาตเรียนเพื่อนๆ ตามตรงว่าทุกครั้งที่เจอคำถามแบบนี้ผมจะค่อนข้างชอบมากๆ นะครับ เพราะ นั่นแสดงให้เราทราบว่าแฟนเพจของภูมิสยามนั้นมีความสนใจในตัวสินค้าของเราจริงๆ เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาไขข้อข้องใจให้เพื่อนๆ … Read More

การคำนวณ การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มยาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากเมื่อวานนี้ผมยก ตย การคำนวณการรับ นน ปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มสั้นไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย สำหรับกรณีที่เป็นเสาเข็มยาวบ้างนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปเมื่อวานนะครับว่าข้อบัญญัตินี้ถูกบัญญัติขึ้นมาสำหรับกรณีที่งานก่อสร้างนั้นๆ มิได้มีการทำการทดสอบดิน หากเป็นเช่นนี้ให้เราทำการออกแบบเสาเข็มโดยให้เสาเข็มนั้นเป็นเสาเข็มแรงฝืด (SKIN FRICTION PILE) เพียงเท่านั้น ซึ่งสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นมีความยาวมากๆ ก็เช่นกันนะครับ … Read More

การคำนวณ การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มสั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของแฟนเพจที่ได้ฝากเอาไว้ที่ว่า “เหตุใดผมจึงมักที่จะพูดอยู่บ่อยๆ ว่าในการที่เราจะทราบความสามารถในการรับ นน ของเสาเข็มที่แน่นอนนั้นเราจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะสำรวจดินเสียก่อน แต่ เวลาจะใช้งานพวกเสาเข็มทั่วๆ ไป หรือ เสาเข็มสั้น เค้ามักจะมีคำพูดพ่วงท้ายมาเลยว่าเสาเข้มต้นนั้นๆ จะสามารถรับ นน ปลอดภัยได้เท่ากับค่านั้นค่านี้ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ?” ก่อนอื่นเลยผมต้องขอชมเชยคนถามก่อนนะครับ แสดงว่าคนถามคำถามข้อนี้เป็นคนช่างสังเกตคนหนึ่ง ถึงแม้จะไม่ใช่วิศวกรก็ตาม … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำหรับการเจาะสำรวจชั้นดิน ในพื้นที่ต่างจังหวัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในครั้งที่แล้วผมได้นำตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล มาฝากเพื่อนๆ พร้อมกับได้ให้คำอรรถาธิบายไปพอสังเขปแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตนำข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด มาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังพร้อมกันกับนำข้อมูลมาถกกันด้วยว่าเพราะเหตุใดข้อมูลจากทั้งสองตารางนี้จึงมีความแตกต่างกันนะครับ ก่อนอื่นผมอยากให้เพื่อนๆ เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากมีเพื่อนของพวกเราได้สอบถามผมมาว่า จากตารางที่แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่เราควรที่จะใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกันกับขนาดและความสูงของอาคารที่เรามีความต้องการที่จะทำการก่อสร้าง ที่ผมนำมาฝากเพื่อนๆ ในการโพสต์ก่อนหน้านี้นั้นมีหน่วยงานใดที่ให้คำแนะนำให้ใช้ตารางนี้นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตชื่นชมในตัวของน้องท่านนี้ก่อนนะครับที่ได้กรุณาสอบถามคำถามข้อนี้มา เพราะ หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ … Read More

ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะ ในการทำการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์เกร็ดความรู้เล็กๆ ของการทำงานการทดสอบดินสักหนึ่งประการแก่เพื่อนๆ นะครับ ซึ่งแม้ว่าหัวข้อนี้จะเป็นเพียงหัวข้อเล็กๆ แต่ผมก็เชื่อว่าหัวข้อนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ไม่มากก็น้อยนะครับ นั่นก็คือ ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน นั่นเองครับ เพื่อนหลายๆ คนอาจมีความสงสัยว่าเพราะเหตุใดหรือทำไมผมถึงต้องพูดถึงประเด็นนี้หรือครับ ? จริงๆ แล้วประเด็นนี้เป็นประเด็นที่สำคัญมากๆ ในการที่เราจะต้องใช้ในการทำการทดสอบดินของเราเลยนะครับ เพราะ หากเราเลือกความลึกของหลุมเจาะที่ตื้นจนเกินไป เราก็อาจนำผลจากการทดสอบนี้ไปใช้ในการออกแบบตัวฐานรากไม่ได้เลย เนื่องจากจริงๆ แล้วอาคารของเรานั้นจำเป็นที่จะต้องใช้ขนาดของเสาเข็มที่มีความยาวมากกว่านั้น … Read More

ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรท่านหนึ่งที่เคยถามผมมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับเรื่อง ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM) นั่นเองนะครับ โดยคำถามมีอยู่ว่า “ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ?” … Read More

1 20 21 22 23 24 25 26 36